วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

3.5 สมการ SOP และสมการ POS (SOP and POS Equation)

 ตารางความจริง (Truth table) คือตารางแสดงการกระทําของตัวกระทํากับตัว แปรใด ๆ ของสมการบูลีน เช่น สมการ Υ = Α + ΒC ก ็ หมายถึง Υ = f ( Α ,Β ,C) ซึ่งตัว แปร Α ,Β ,C กระทําการ ΑΝD,ΟR,ΝΟΤ กัน เป็ นต้น ซึ่งเราสามารถจะแทนค่าคงที่ (0 หรือ 1) แทนในตัวแปร Α ,Β หรือ C เราสามารถบอกได้ว่า Υ หรือ f ( Α ,Β ,C) นั้นมี ค่าเท่าไรและการแทนค่าคงที่ดังกล่าวลงในตัวแปร Α ,Β ,C นั้นก ็ กระทํากันได้ 8 ครั้ง เท่ากับจํานวนบรรทัดของตารางความจริง เนื่องจากจํานวนบรรทัดของตารางความจริง คือ 2 ตัวแปร เช่น ถ้าวงจรลอจิกมีตัวแปรเพียง 2 ตัวแปร จํานวนบรรทัดของตาราง ความจริงคือ 2 2 = 4 บรรทัด หรือกรณีวงจรลอจิกมีตัวแปร 3 ตัวแปรจะมีจํานวน บรรทัดของตารางความจริงเท่ากับ 3 2 บรรทัด (8 บรรทัด) เป็ นต้น
         จากตารางความจริงแสดงค่า f ( Α ,Β ,C) = Α + ΒC จะเห ็ นว่าค่าของ Υ หรือ f ( Α , Β ,C) นั้นจะมีค่าเป็ น 0 หรือ 1 ตามแต่การกระทําของตัวแปรในสมการ Υ = Α + ΒC และค่าของ Υ นี้ก ็ คือเอาต์พุตของสมการ Α + ΒC นั้นเอง อาจเขียนตาราง ความจริงใหม่ให้มีรูปแบบที่ชัดเจนขึ้นดังนี้
จากตารางความจริงสามารถถอดความสัมพันธ์ในตารางออกมาเป็ นสมการ พีชคณิตบูลีนได้เช่นเดียวกัน วิธีแรกคือ ให้พิจารณาเอาต์พุตที่เป็ น 1 ของตารางความ จริง และเขียนเทอมของตัวแปร Α ,Β ,C ออกมาทีละเทอม โดยแทนค่าตัวแปรที่เป็ น 0 หรือ Α,Β หรือ C และตัวแปรที่เป็ น 1 ด้วย Α ,Β หรือ C ตัวแปรแต่ละตัวกระทําการ ΑΝD กัน และนําเทอมของตัวแปรแต่ละเทอมที่เขียนได้จากเอาต์พุตที่เป็ น 1 มากระทํา ΟR กัน เรียกว่า วิธีเขียนสมการแบบ Sum of Product (SOP) หรือ Min term
สมการพีชคณิตบูลีนแบบ Product of Sum (POS) หรือสมการแบบ Max term รูปแบบของสมการแบบ POS จะตรงข้ามกับสมการแบบ SOP ตั้งแต่การพิจารณา เอาต์พุต การเขียนตัวแปรแต่ละตัว และการติดเครื่องหมาย ΝΟΤ ที่ตัวแปรเหล่านั้น สรุปวิธีการเขียนสมการ POS คือต้องนําเทอมของเอาต์พุตที่มีผลลัพธ์เป็ น 0 มาเขียนโดย กําหนดตัวแปรที่มีค่าเป็ น 0 แทนด้วย Α ,Β หรือ C และตัวแปรที่มีค่าเป็ น 1 แทนด้วย Α,Β หรือ C กระทําการ ΟR กันแล้วนําผลลัพธ์ของการ ΟR ทุก ๆ เทอมที่เป็ น 0 นํามา ΑΝD กัน ก ็จะได้สมการ SOP 
พิจารณาตารางความจริงต่อไปนี
       จากผลการลดรูปสมการ POS จะเห ็ นว่าให้ผลลัพธ์เท่ากันกับการถอดสมการ แบบ SOP จากตารางความจริง ดังนั้นเราจะใช้วิธีถอดสมการแบบใดก็ได้ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของเอาต์พุตตารางความจริง เช่น ถ้าเอาต์พุตมี “0” มากกว่า “1” เราก ็ควรใช้ วิธี SOP หรือถ้าเอาต์พุตมี “1” มากกว่า “0” ก ็อาจใช้วิธี POS เป็ นต้น เพื่อให้สมการที่ ถอดได้ไม่ยาวมากเกินไป การใช้สมการพีชคณิตบูลีนลดรูปสมการจะผิดพลาดน้อยลง






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น